Earth Kind Health วิธีปฏิบัติ และ พูดคุยกับผู้ที่ใส่เครื่องช่วยฟัง  

วิธีปฏิบัติ และ พูดคุยกับผู้ที่ใส่เครื่องช่วยฟัง  


เครื่องช่วยฟัง โรงพยาบาล

คนที่ใส่เครื่องช่วยฟังนั้นเราจะต้องำทความเข้าใจก่อนว่าเป็นผู้ที่มีปัญหาทางกาไรได้ยิน ซึ้งจะมากหรือน้อยนั้น การใส่เครืองช่วยฟังนั้นจะช่วยให้ พวกเขานั้นกลับมาได้ยินอีกครั้ง แต่ว่าการที่จะได้ยินชัดเจนหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับ ความสมบูรณ์ของประสาทหูที่คงเหลืออยู่ด้วยเช่นกัน ดังนั้นในเรื่องของการพูดคุยนั้นอาจจะต้องใช้ความเข้าใจเข้าร่วมด้วยเช่นกัน ดังนั้นในบทความนี้เราจะมาดูกันว่าในเรื่องของการปฏิบัติของผู้ที่ใส่เครื่องช่วยฟังนั้น ไม่ว่าจะเป็นการใส่ เครื่องช่วยฟัง โรงพยาบาล หรือ เครื่องช่วยฟังแบบดิติตอล นั้นเราจะดูแลอย่างไร และ ปฏิบัติตัวอย่างไร  

พูดใกล้ ๆ และ ค่อย ๆ พูดช้า ๆ ระดับความดังปกติ  

การสนทนานั้นหากว่าคู่สนทนานั้นใส่เครื่องช่วยฟังนั้น ไม่ว่าจะเป็นเครื่องช่วยฟังแบบไหน ไม่ว่าจะเป็น เครื่องช่วยฟัง โรงพยาบาล หรือ เครื่องช่วยดิจิตอล นั้นการพูดนั้นแนะนำให้พูด ใกล้ ๆ และ พูดช้า ๆ ในระดับความดังแบบที่ปกติ ไม่จำเป็นต้องตะโกน หรือ พูดดัง ๆ  ก็จะสามารถที่จะสนทนากับคู่สนทนาที่ใส่เครื่องช่วยฟังได้ โดยที่ไม่ต้องกังวลว่าจะไม้ได้ยินได้อย่างแน่นอน  

พูดต่อหน้า เพื่อให้คู่สนาทนา ได้เห็น รูปปากที่ชัดเจน  

ผู้ที่มีปัญหาทางการได้ยินบางรายนั้นจะมีอาการ แปลความหมายของคำพูดได้น้อย ดังนั้นจึงจะต้องใช้การแปลความหมายจากริมฝีปาก หรือการมองรูปปากร่วมในการสนทนา เพื่อที่จะทำให้สามารถที่จะสนทนากับผู้อื่นได้ดีมากยิ่งขึ้น ดังนั้นผู้พูดนั้นอาจจะต้องสนทนาต่อหน้า และ มีการสบตา เพื่อให้ผู้ฟังที่สนทนากับทางเรานั้นได้เห็นริมฝีปากที่ชัดเจน เพื่อใช้ในการแปลคำพูด  และ แปลความหมายของประโยคในการสนทนานั้นเอง  

การใช้ท่าทางประกอบ  

การใช้ท่าทางประกอบในการพูดจะช่วยให้สามารถที่จะสนทนาได้ง่ายขึ้น ซึ่งการใช้ท่าทางประกอบนั้นอาจจะไม่จำเป็นต้องเป็นทุกรูปประโยค แต่อาจจะเป้นการทำท่าประกอบการสนทนา เพื่อให้สามารถที่จะเข้าใจได้ง่ายมากยิ่งขึ้น ยกตัวอย่างเช่น การดื่มน้ำ การทานข้าว ที่เป็นท่าประกอบได้ค่อนข้างง่าย และ เพียงแค่มองก็รู้ได้ทันที  

การฝึกพูดคุยในหลากหลายสถาณการณ์  

ตัวผู้ฟังที่เป็นคนที่มีการบกพร่องทางการได้ยินนั้นการฝึกพูดคุย ก็มีความสำคัญอย่างมากด้วยเช่นกันให้ เพราะว่าจะช่วยให้สามารถที่จะพูดคุยได้ดีมากยิ่งขึ้นอย่างมากด้วยเช่นกันไม่ว่าจะเป็นการพูดคุยแบบ 1-1 หรือการพูดคุยกันเป็นกลุ่มนั้นการที่เรานั้นเอาตัวเอาเข้าไปในสถาณการณ์ต่าง ๆ ในการพูดคุยนั้นจะช่วยให้สามารถที่จะฝึกการพูดได้ดีมากยิ่งขึ้นด้วยเช่นกัน  

ดังนั้นจะเห็นว่าวิธีการพูดคุยกับคนที่มีปัญหาทางการได้ยิน หรือพูดที่มีความบกพร่องทางการได้ยินนั้นจะไม่ใช่เรื่องยากอะไรเลย เพียงแต่ว่าเรานั้นจะต้องใช้ความเข้าใจและ เรื่องของ การเข้าใจนั้นจะช่วยให้เรานั้นสามารถที่จะ พูดคุยได้อย่างเป็นธรรมชาติ ไม่รู้สึกเกร็ง และ ทำความเข้าใจได้ในตัวผู้ที่มีปัญหาทางการได้ยินได้ดีขึ้น และ ช่วยให้พูดคุยกันได้โดยไม่ต้องกังวลได้นั้นเอง